วันอังคารที่ 31 มกราคม 2023
  • Login
กฏหมายเพื่อประชาชน
  • Home
  • ตัวบทกฏหมาย
    • ประมวลกฏหมายไทย
    • พระราชบัญญัติ
    • พระราชกฤษฎีกา
    • พระราชกำหนด
    • รัฐธรรมนูญ
    • ประมวลรัษฎากร
    • กฎมณเฑียรบาล
    • ข้อบังคับ ระเบียบ และอนุสัญญา
  • กฏหมายควรรู้
    • กฏหมายทั่วไป
    • กฏหมายจราจร
    • กฏหมายเด็กและเยาวชน
    • กฏหมายเกี่ยวกับการค้าประเวณี
    • กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
    • กฏหมายเกี่ยวกับการเช่า-เซ้ง
    • กฏหมายเกี่ยวกับชีวิตคู่
    • กฏหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน
    • Infographic
  • ข่าว
  • ทนาย
  • ผู้ต้องขัง
  • บทความ
  • หน่วยงานราชการ
  • วีดีโอ
    • ราชทัณฑ์
    • ยุติธรรม
  • Contact
No Result
View All Result
  • Home
  • ตัวบทกฏหมาย
    • ประมวลกฏหมายไทย
    • พระราชบัญญัติ
    • พระราชกฤษฎีกา
    • พระราชกำหนด
    • รัฐธรรมนูญ
    • ประมวลรัษฎากร
    • กฎมณเฑียรบาล
    • ข้อบังคับ ระเบียบ และอนุสัญญา
  • กฏหมายควรรู้
    • กฏหมายทั่วไป
    • กฏหมายจราจร
    • กฏหมายเด็กและเยาวชน
    • กฏหมายเกี่ยวกับการค้าประเวณี
    • กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
    • กฏหมายเกี่ยวกับการเช่า-เซ้ง
    • กฏหมายเกี่ยวกับชีวิตคู่
    • กฏหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน
    • Infographic
  • ข่าว
  • ทนาย
  • ผู้ต้องขัง
  • บทความ
  • หน่วยงานราชการ
  • วีดีโอ
    • ราชทัณฑ์
    • ยุติธรรม
  • Contact
No Result
View All Result
กฏหมายเพื่อประชาชน
No Result
View All Result

อนุญาตให้รัฐบาลให้กู้ยืมเงินแก่เทศบาลเมืองสองแห่งฯ พ.ศ.2479

เพื่อทำการตัดและขยายถนนกับเพื่อลงทุนหาผลประโยชน์อื่น ๆ ให้แก่เทศบาล

by กฏหมาย กฤษฎีกา พรบ. กฏกระทรวง ศาล อัยการ ทนาย ตำรวจ
in พระราชบัญญัติ
Reading Time: 2min read
0
ADVERTISEMENT

พระราชบัญญัติ

อนุญาตให้รัฐบาลให้กู้ยืมเงินแก่เทศบาลเมืองสองแห่ง

เพื่อทำการตัดและขยายถนนกับเพื่อลงทุน

หาผลประโยชน์อื่น ๆ ให้แก่เทศบาล พุทธศักราช 2479

——–

 

ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล

คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร

ลงวันที่ 20 สิงหาคม พุทธศักราช 2478)

อาทิตย์ ทิพอาภา

เจ้าพระยายมราช

พล.อ.เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน

ตราไว้ ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2479

เป็นปีที่ 3 ในรัชกาลปัจจุบัน

 

 

             โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า สมควรที่จะให้เทศบาลเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี และเทศบาลเมือง

บ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ได้กู้ยืมเงินรัฐบาลไปลงทุนทำการตัดและขยายถนน กับลงทุนหาผลประโยชน์อื่น ๆ ให้แก่เทศบาล เพื่อส่งเสริมความเจริญ รวมทั้งความปลอดภัยและความสะดวกในการจราจรแห่งท้องถิ่น

            จึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้

            มาตรา 1  พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า “พระราชบัญญัติอนุญาตให้รัฐบาลให้กู้ยืมเงินแก่เทศบาลเมืองสองแห่งเพื่อทำการตัดและขยายถนน กับเพื่อลงทุนหาผลประโยชน์อื่น ๆ ให้แก่เทศบาล พุทธศักราช 2479”

            มาตรา 2(1) ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

            มาตรา 3  ให้รัฐบาลมีอำนาจให้เทศบาลเมืองสองแห่งกู้ยืมเงินคงคลังเป็นจำนวนไม่เกิน 500,000 บาท เพื่อเป็นทุนในการตัดและขยายถนนกับเพื่อลงทุนหาผลประโยชน์อื่น ๆ ให้แก่เทศบาล ตามรายนามและจำนวนเงินดังต่อไปนี้

            (1) เทศบาลเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี จำนวนเงินไม่เกิน 300,000 บาท

            (2) เทศบาลเมืองบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี จำนวนเงินไม่เกิน  200,000 บาท

            มาตรา 4  การให้เทศบาลเมืองกู้ยืมเงินเพื่อประโยชน์แห่งกิจการที่ได้ระบุไว้ในมาตรา 3 นั้น ให้ปฏิบัติการภายในบังคับแห่งเงื่อนไข ดังจะกล่าวต่อไปนี้

            (1) ให้ชำระหนี้เป็นเงินรายปีอันประกอบด้วยดอกเบี้ยและเงินส่งใช้ต้นภายในกำหนดเวลาที่ระบุไว้ในหนังสือสัญญากู้ยืมระหว่างรัฐบาลกับเทศบาลเมืองที่กู้ยืม จำนวนเงินรายปีและวันที่ถึงกำหนดต้องใช้คราวหนึ่ง ๆ นั้น ให้เป็นไปดังที่ระบุไว้ในบัญชีเงินรายปีต่อท้ายหนังสือสัญญากู้ยืม และให้ถือว่าบัญชีนั้นเป็นส่วนหนึ่งแห่งหนังสือสัญญากู้ยืม

            (2) ดอกเบี้ยและระยะเวลาที่ต้องชำระเงินกู้ยืมรายใดให้เสร็จสิ้นไปนั้น ให้กำหนดโดยความตกลงระหว่างรัฐบาล 

ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้แทนในการนี้ กับผู้ซึ่งได้รับมอบอำนาจโดยชอบให้เป็นผู้แทนของเทศบาลเมืองที่กู้ยืม  ความตกลงนั้นต้องอยู่ภายในบังคับแห่งเงื่อนไขต่อไปนี้

                (ก) ดอกเบี้ยต้องกำหนดในอัตราไม่เกินร้อยละสองกึ่งต่อปี

                (ข) เงินกู้ยืมต้องชำระให้เสร็จสิ้นไปภายในระยะเวลาไม่เกินกว่าสี่สิบปี

                (ค) ให้เริ่มคิดดอกเบี้ยเมื่อครบห้าปีแล้ว นับวันที่ลงนามทำสัญญากู้ยืมเงินเป็นต้นไป โดยคำนวณดอกเบี้ยเฉพาะจากจำนวนเงินที่ได้จ่ายให้จริง ถ้าเทศบาลเมืองที่กู้ยืมไม่ส่งดอกเบี้ยตามสัญญา ให้เอาเงินจำนวนที่ต้องส่งเป็นดอกเบี้ยนั้นทบเข้าเป็นต้นเงินกู้ยืม

                (ง) ให้เริ่มชำระต้นเงินกู้ยืมเมื่อครบห้าปี นับจากวันที่ได้ลงนามทำสัญญากู้ยืมเงินเป็นต้นไป

            บัญชีเงินรายปีต่อท้ายหนังสือสัญญากู้ยืมเงินทุกฉบับต้องทำขึ้นตามเกณฑ์ที่กล่าวแล้ว

            ในกรณีที่เป็นเทศบาลเมืองที่กู้ยืมมีความจำเป็นจะเริ่มชำระต้นเงินกู้ยืมและเงินดอกเบี้ยเมื่อครบห้าปี นับจากวันที่ได้ลงนามทำสัญญากู้ยืมเงินเป็นต้นไปไม่ได้นั้น ให้รัฐบาลมีอำนาจผ่อนผันได้ตามสมควรแก่เหตุการณ์

            (3) เทศบาลเมืองที่กู้ยืมมีสิทธิที่จะส่งใช้ต้นเงินที่กู้ยืมนั้นทั้งหมดหรือแต่ส่วนใดส่วนหนึ่ง ในขณะใด ๆ ก่อนกำหนดก็ได้ แต่เงินที่ส่งใช้คราวหนึ่งต้องไม่ต่ำกว่า 10,000 บาท

            (4)รัฐบาลมีสิทธิที่จะให้เทศบาลเมืองที่กู้ยืมใช้อำนาจที่มีอยู่ตามกฎหมายตั้งเก็บจังกอบหรือเก็บภาษี หรือกระทำการอย่างอื่นเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ตามหนังสือสัญญากู้ยืมเงิน ทั้งมีสิทธิที่จะปฏิบัติการเพื่อที่จะให้ได้มา  ซึ่งต้นเงินหรือดอกเบี้ยที่ค้างชำระ โดยหักเงินจำนวนที่ค้างชำระพร้อมทั้งดอกเบี้ยคำนวณดอกทบต้นทุก ๆ สามเดือนตามอัตรา

ร้อยละเจ็ดต่อปี จากเงินส่วนแบ่งรายได้ของเทศบาลเมือง หรือเงินอุดหนุนซึ่งรัฐบาลจ่ายให้แก่เทศบาลเมืองนั้น

            (5) รัฐบาลมีสิทธิที่จะปฏิบัติการตามแต่จะเห็นสมควรในอันจะให้ได้รับความพอใจว่าเงินกู้ยืมนั้นได้จ่ายไปแล้ว และกำลังจ่ายไปในกิจการซึ่งได้ให้กู้ยืมเงินไปทำ และกิจการนั้นได้กระทำโดยประหยัดรายจ่ายและเป็นผลดีตามสมควร ทั้งมีสิทธิที่จะยึดเงินกู้ยืมส่วนที่จะต้องจ่ายต่อไปนั้นไว้ก่อนจนกว่าจะได้รับความพอใจตามที่กล่าวมานั้น เพื่อประโยชน์แห่งการนี้เทศบาลเมืองที่กู้ยืมจะต้องเสนอโครงการณ์แบบ และแผนผัง ของกิจการที่จะจัดทำขอความเห็นชอบจากกระทรวงมหาดไทยก่อนแล้วจึงจะดำเนินการได้ และจะต้องยอมให้ผู้แทนโดยชอบของรัฐบาลตรวจบัญชีหนังสือสัญญาและเอกสารอย่างอื่นซึ่งเกี่ยวแก่กิจการซึ่งได้ดำเนินไปอันควรแก่เรื่องตามเวลาที่สะดวกทุก ๆ เวลาและจะต้องให้ความสะดวก ตาม

สมควรแก่ผู้แทนที่กล่าวนั้นในอันจะตรวจกิจการที่กระทำ

            (6) บรรดาเงินอันพึงต้องจ่ายตามหนังสือสัญญากู้ยืมเงินที่ทำขึ้นตามอำนาจแห่งพระราชบัญญัตินี้ เทศบาลเมืองที่กู้ยืมต้องเบิกจากกระทรวงการคลังภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2482

            มาตรา 5  ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมีหน้าที่รักษาการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้

 

  ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

    พ.อ. พหลพลพยุหเสนา

       นายกรัฐมนตรี

Tags: 19362479กฏหมายอนุญาตให้รัฐบาลให้กู้ยืมเงินแก่เทศบาลเมืองสองแห่งฯ พ.ศ.2479
ShareTweetShare
ADVERTISEMENT
กฏหมาย กฤษฎีกา พรบ. กฏกระทรวง ศาล อัยการ ทนาย ตำรวจ

กฏหมาย กฤษฎีกา พรบ. กฏกระทรวง ศาล อัยการ ทนาย ตำรวจ

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่จำเป็นในชีวิตประจำวันที่จัดทำขึ้นนี้ เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมาย เพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนกระทำความผิด และมีมุมมองที่ว่า "กฎหมาย...ไม่วุ่นวายอย่างที่คิด" เพราะที่ผ่านมาเมื่อได้ยินคำว่ากฏหมาย คนส่วนใหญ่มักมองว่าเป็นเรื่องยุ่งยากจนไม่อยากเรียนรู้ แต่ความเป็นจริงแล้วการใช้ชีวิตของทุกคนต้องเกี่ยวข้องกับกฎหมายโดยไม่รู้ตัวและกฎหมายยังเป็นสิ่งที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับเราเป็นอย่างมาก

Related Posts

พระราชบัญญัติ

พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

ธันวาคม 3, 2017
พระราชบัญญัติ

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

ธันวาคม 3, 2007
บทความ

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (คำอธิบาย)

ธันวาคม 3, 2007
พระราชบัญญัติ

กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ.2542

สิงหาคม 7, 1999
พระราชบัญญัติ

กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542

สิงหาคม 7, 1999
พระราชบัญญัติ

กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2541

สิงหาคม 7, 1998
Load More
Next Post

ยศตำรวจ พ.ศ.2480

ราชองครักษ์ พ.ศ.2480

การเปรียบเทียบคดีอาญา พ.ศ.2481

เกลือ พ.ศ.2481

By Categories

  • กฏหมายควรรู้ (552)
    • Infographic (98)
    • กฏหมายจราจร (44)
    • กฏหมายทั่วไป (188)
    • กฏหมายลิขสิทธิ์ (5)
    • กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ (4)
    • กฏหมายเกี่ยวกับการค้าประเวณี (61)
    • กฏหมายเกี่ยวกับการเช่า-เซ้ง (38)
    • กฏหมายเกี่ยวกับชีวิตคู่ (59)
    • กฏหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน (8)
    • กฏหมายเกี่ยวกับธุรกิจ (2)
    • กฏหมายเด็กและเยาวชน (12)
    • กฏหมายแรงงาน (8)
  • ข่าว (260)
  • คำพิพากษา (12)
    • คำพิพากษาศาลฎีกา (12)
  • ตัวบทกฏหมาย (621)
    • ข้อบังคับ ระเบียบ และอนุสัญญา (16)
    • พระราชกำหนด (1)
    • พระราชบัญญัติ (33)
  • บทความ (21)
    • ราชทัณฑ์ (1)
  • ผู้ต้องขัง (2)
  • วีดีโอ (26)
    • ยุติธรรม (2)
    • ราชทัณฑ์ (24)
  • หน่วยงานราชการ (95)

เรื่องล่าสุด

  • ขอวีซ่าอังกฤษ พร้อมกฏหมายของการเดินทางที่ควรรู้
  • รวมคำ โกหก ที่ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ ใช้หลอกเรา มีอะไรบ้าง? – MoneyGuru
  • สินมั่นคงประกันภัย แจ้งไทม์ไลน์แผนฟื้นฟูกิจการใหม่ เจ้าหนี้ต้องรู้ – ประชาชาติธุรกิจ
  • “ทิพานัน” โต้ แถลงการณ์เพื่อไทย ไล่ “บิ๊กตู่” ผิดตรรกะ – TOPNEWS – TOP NEWS
  • โปรดเกล้าฯ ศ.ดร.นพ.พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ – มติชน
กฏหมาย ศาล อัยการ ทนาย คุก

เว็บไซต์แห่งนี้ เป็นเว็บที่ได้รวบรวมเอา ข้อมูล ทางด้าน กฏหมาย ของไทยมาไว้ด้วยกันเพื่อสะดวกแก่การค้นหาข้อมูล ข้อมูลกฏหมายไทยนี้ เหมาะสำหรับทุกคนที่ สนใจใน กฏหมายไทย

ผิดพลาดพรั้งไป ขออภัยในความไม่สะดวก ติ/ชม แนะนำข้อมูลได้ที่หน้า ติดต่อเรา ได้ครับ

กฏหมายไทย / Thailand Law

  • ขอวีซ่าอังกฤษ พร้อมกฏหมายของการเดินทางที่ควรรู้
  • รวมคำ โกหก ที่ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ ใช้หลอกเรา มีอะไรบ้าง? – MoneyGuru
  • สินมั่นคงประกันภัย แจ้งไทม์ไลน์แผนฟื้นฟูกิจการใหม่ เจ้าหนี้ต้องรู้ – ประชาชาติธุรกิจ
  • “ทิพานัน” โต้ แถลงการณ์เพื่อไทย ไล่ “บิ๊กตู่” ผิดตรรกะ – TOPNEWS – TOP NEWS
  • โปรดเกล้าฯ ศ.ดร.นพ.พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ – มติชน

Social Network

คำนิยม

110 ปี190219091913191419161918192119231926192819291930193119321933193419351936
  • Help
  • Privacy Policy
  • About
  • Contact

© 2020 Thailand Law กฏหมายเพื่อประชาชน สงวนลิขสิทธิ์ไว้ทั้งหมด.

No Result
View All Result
  • Home
  • ตัวบทกฏหมาย
    • ประมวลกฏหมายไทย
    • พระราชบัญญัติ
    • พระราชกฤษฎีกา
    • พระราชกำหนด
    • รัฐธรรมนูญ
    • ประมวลรัษฎากร
    • กฎมณเฑียรบาล
    • ข้อบังคับ ระเบียบ และอนุสัญญา
  • กฏหมายควรรู้
    • กฏหมายทั่วไป
    • กฏหมายจราจร
    • กฏหมายเด็กและเยาวชน
    • กฏหมายเกี่ยวกับการค้าประเวณี
    • กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
    • กฏหมายเกี่ยวกับการเช่า-เซ้ง
    • กฏหมายเกี่ยวกับชีวิตคู่
    • กฏหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน
    • Infographic
  • ข่าว
  • ทนาย
  • ผู้ต้องขัง
  • บทความ
  • หน่วยงานราชการ
  • วีดีโอ
    • ราชทัณฑ์
    • ยุติธรรม
  • Contact

© 2020 Thailand Law กฏหมายเพื่อประชาชน สงวนลิขสิทธิ์ไว้ทั้งหมด.

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Create New Account!

Fill the forms below to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
เว็บไซต์นี้ใช้ Cookie
เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ คุณสามารถเลือกตั้งค่าความยินยอมการใช้คุกกี้ได้ โดยคลิก "การตั้งค่าคุกกี้"
การตั้งค่าคุกกี้ปฏิเสธทั้งหมดยอมรับทั้งหมด
Manage consent

Privacy Overview

This website uses cookies to improve your experience while you navigate through the website. Out of these, the cookies that are categorized as necessary are stored on your browser as they are essential for the working of basic functionalities of the website. We also use third-party cookies that help us analyze and understand how you use this website. These cookies will be stored in your browser only with your consent. You also have the option to opt-out of these cookies. But opting out of some of these cookies may affect your browsing experience.
Necessary
Always Enabled
Necessary cookies are absolutely essential for the website to function properly. These cookies ensure basic functionalities and security features of the website, anonymously.
CookieDurationDescription
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Analytics".
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsThe cookie is set by GDPR cookie consent to record the user consent for the cookies in the category "Functional".
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookies is used to store the user consent for the cookies in the category "Necessary".
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Other.
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Performance".
viewed_cookie_policy11 monthsThe cookie is set by the GDPR Cookie Consent plugin and is used to store whether or not user has consented to the use of cookies. It does not store any personal data.
Functional
Functional cookies help to perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collect feedbacks, and other third-party features.
Performance
Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.
Analytics
Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.
Advertisement
Advertisement cookies are used to provide visitors with relevant ads and marketing campaigns. These cookies track visitors across websites and collect information to provide customized ads.
Others
Other uncategorized cookies are those that are being analyzed and have not been classified into a category as yet.
SAVE & ACCEPT
error: Content is protected !!
This website uses cookies. By continuing to use this website you are giving consent to cookies being used. Visit our Privacy and Cookie Policy.